บทที่ 8 การสร้างตารางด้วย Colors

บทที่  8 การสร้างตารางด้วย Colors

  1.  รู้จักกับ Colors Palette
  2.  สร้างสีใหม่เก็บไว้ใช้งาน
  3.  ใส่สีให้กับออบเจ็กต์
  4.  แก้ไขสีที่สร้างไว้
  5.  ลบสีที่สร้างไว้
  6.  นำสีจากไฟล์อื่นมาใช้งาน
รู้จักกับ Colors Palette
ในกรณีที่กำหนดค่าสีให้กับออบเจ็กต์เพียงชิ้นเดียว  อาจส่งงานผ่านทางเมนู  Element>Fill  and  Stroke  ได้โดยตรง  แต่สำหรับงานที่ที่มีรูปแบบที่แน่นอน  เช่น  การจัดทำหนังสือที่ต้องมีเส้นหรือลูกศรชี้ประกอบขั้นตอน  การสร้างตารางที่มีการไล่เฉดสี  หรือการกำหนดเส้นคั่นระหว่างหัวข้อต่าง ๆ  การใช้งาน  Colors Palette  ก็จะช่วยเอื้ออำนวยให้สามารถทำงานได้อย่างรวดเร็วมากยิ่งขึ้น  โดยเริ่มแรกจะต้องเปิด  Colors Palette  ขึ้นมาก่อน  ดังนี้
สร้างสีใหม่เก็บไว้ใช้งาน
ภายหลังจากได้เปิด  Colors Palette  ขึ้นมาเรียบร้อยแล้ว  จะเห็นว่าสีมาตรฐานที่โปรแกรมเตรียมไว้มีเพียงจำนวนหนึ่งเท่านั้น  ดังนั้นหากต้องการสร้างสีใหม่เพื่อเก็บไว้ใช้งาน  ก็สามารถทำได้ดังนี้


ใส่สีให้กับออบเจ็กต์
เมื่อสร้างสีใหม่ที่ต้องการขึ้นมาเรียบร้อยแล้ว  จากนี้หากต้องการกำหนดสีดังกล่าวให้กับออบเจ็กต์ใดๆ  ก็สามารถทำได้อย่างรวดเร็ว  ดังนี้


แก้ไขสีที่สร้างไว้
ภายหลังจากกำหนดสีให้ส่วนประกอบต่าง ๆ  ของออบเจ็กต์เรียบร้อยแล้ว  หากเห็นว่า
ค่าสีที่สร้างไว้ยังไม่ตรงใจ  ก็สามารถปรับเปลี่ยนสีที่สร้างไว้ได้  ดังนี้


ลบสีที่สร้างไว้
หากไม่ต้องการใช้สีใด ๆ  แล้ว  ก็สามารถลบสีนั้นออกไปเพื่อให้เหลือเฉพาะสีที่จำเป็นต่อการใช้งานได้  ซึ่งการทำงานดังกล่าวจะทำให้  Colors Palette  มีปริมาณสีลดลง  และช่วยให้ไม่เกิดความสับสนในการกำหนดสีให้กับออบเจ็กต์แต่ละชิ้น












ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น