บทที่ 10 การใช้งานโปรแกรม Adobe InDesign

บทที่  10 การใช้งานโปรแกรม Adobe InDesign
  1.  ส่วนประกอบของโปรแกรม InDesign
  2.  Tool Box
  3.  การตั้งค่าเบื้องต้น
  4.  การสร้างไฟล์งาน
  5.  การสร้างตัวอักษรใน InDesign
  6.  การทำ e-book
ส่วนประกอบของโปรแกรม InDesign 
ระบบการทางานของโปรแกรม Indesign นั้น ไม่สามารถใช้ Indesign เดี่ยวๆ ได้ ต้องมีความรู้พื้นฐานของ Photoshop และ illustrator ด้วย เพราะต้องมีการเตรียมรูปภาพจาก Photoshop และเตรียมคลิปอาร์ต หรือ Logo ต่างๆ มาจาก illustrator ส่วนข้อความสามารถเตรียมมาจาก โปรแกรมประเภท Word Prospering แล้วจึงนามาประกอบรวมกันเป็นหนังสือ หรือแผ่นพับต่างๆ ใน Indesign เสร็จแล้วจึง Export ไฟล์งานของนั้นเป็นไฟล์ PDFX1-a หรือ PDFX-3 เพื่อส่งโรงพิมพ์ ทางโรงพิมพ์ก็จะทา Digital Poof ส่งกลับมาให้ตรวจสอบความเรียบร้อยก่อนจะทาเพลท และส่งให้โรงพิมพ์ต่อไป
Tool Box 
  1. กลุ่มเครื่องมือสาหรับเลือก (Selection 
  2. กลุ่มเครื่องมือสาหรับวาดภาพหรือพิมพ์อักษรข้อความ
  3. กลุ่มเครื่องมือสาหรับทา Transfrom (ปรับขนาด , เปลี่ยนทิศทาง ฯลฯ )
  4. กลุ่มเครื่องมือช่วยเสริมการทางานทั่วไป
  5. กลุ่มเครื่องมือสาหรับเลือกสีพื้นและสีเส้น 
วิธีการตั้งค่า Preferences
สิ่งที่ต้องทำก่อนที่เริ่มการใช้งาน คือ การตั้งค่าพื้นฐานต่างๆ เพื่อให้สามารถใช้ความสามารถของ InDesign ได้อย่างเต็มความสามารถ เมื่อเปิดโปรแกรม InDesign ขึ้นมาแล้ว ให้ไปที่คำสั่ง Edit >> Preferences




General
แถบคำสั่งนี้จะได้ใช้งานเวลาที่ใช้งาน Master Page (ดูหน้าการใช้งาน Master Page ประกอบ) คือในส่วนของคำสั่งPage Numbering โดยที่ตรงคำสั่ง View จะมีให้เลือก 2 แบบ ซึ่งจะใช้คำสั่งนี้เวลาที่ต้องการจะ Print File งานผ่าน Printer
   1. Absolute Numbering เมื่อเลือกคำสั่งนี้ เลขหน้าของใน Palette Page จะรันต่อเนื่องโดยเริ่มจากหน้า   1 ไปจนหน้าสุดท้ายโดยที่ ถึงแม้ว่าจะมี Section (ใช้งาน Master Page มากกว่า 1 ชุดภายในงานไฟล์เดียว) และไม่ได้เริ่มต้นไฟล์เอกสารด้วย หน้า 1 ก็ตาม
   2. Section Numbering เป็นการแสดงเลขหน้าตามปกติ
Type
แถบคำสั่งนี้ จะเข้ามาเลือกการใช้งาน Drag & Drop Text เพราะถ้าไม่เข้ามาเลือก จะไม่สามารถทำการ Drag & Drop Text  เหมือนใน Microsoft Word ได้





คำสั่งลัด ( Shortcut 



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น